สวัสดีกันอีกครั้งสำหรับแฟนๆ thailandgpstracker.com นำเสนอเรื่องราวดีๆ ผู้เขียนจะได้นำและรวบรวมข้อมูลเรื่องราวที่เป็นประโยชน์สำหรับผู้ให้บริการ จีพีเอสติดตามรถ ด้วยบริการมิตรภาพ และราคาประทับใจ
ครั้งนี้ก็เช่นเดียวกัน ผู้เขียนได้รับแจ้งจากลูกค้าว่าอุปกรณ์ที่ติดตั้งในรถบัสจำนวน 4 คันกับบริษัทฯเดิมชอบค้างและใช้งานไม่ได้ จึงเป็นสาเหตุที่ผู้เขียนได้เข้าไปตรวจสอบให้ ผลปรากฎว่ามีอุปกรณ์ GPS Tracker เก่าชำรุดไปถึง 2 ตัวภายในเวลาไม่ถึงปี ผู้เขียนได้ทำการมอนิเตอร์ระบบไฟเลี้ยงรถบัสทั้ง 4 คันดังกล่าวพบว่า ขณะมีการสตาร์ทเครื่องยนต์จะมีไฮโวลต์พัลซ์ออกมา ซึ่งเจ้าพัลซ์ที่ว่านี่เองเข้าไปทำลายวงจรภายในของอุปกรณ์ GPS Tracker
ผู้เขียนจึงได้นำอุปกรณ์ Common Mode Choke และ Voltage Protection เข้าไปติดตั้งกับรถบัสทั้ง 4 คันดังกล่าว โดยการติดตั้งผู้เขียนทำการปรับระดับแรงดันเอาท์พุทไม่ให้เกินกว่า 24 โวลต์ พร้อมกันนี้ได้แจ้งทางผู้ประกอบการให้เปลี่ยนอุปกรณ์ที่เสียหายจากแรงดันไฟกระชากทั้งสองตัว
หลังจากผู้เขียนได้ทำการติดตั้งอุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว จับกราฟแรงดันไฟเลี้ยงอุปกรณ์พบว่าได้ผลเป็นที่น่าภาคภูมิใจมาก เจ้าวงจร Common Mode Choke ทำงานร่วมกันกับ Voltage Protection ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพมาก ไม่มีแรงดันเกินกว่าค่าที่ตั้งไว้ และไม่มีไฮโวลต์พัลซ์เข้ามากวนในระบบเลย เจ้าอุปกรณ์ Common Mode Choke นี้หากนำไปติดตั้งเพื่อกันสัญญาณกวนในภาคจ่ายไฟเครื่องเสียงรถยนต์พวกฟร้อนเอ้นท์ได้ละก็รับรองคุณภาพเสียง ระดับหูทองทีเดียว
Thailand GPS Tracker Report คู่มือการใช้รายงาน จีพีเอสติดตามรถยนต์ โดย ไทย พรอสเพอรัส ไอที ผู้นำด้านการให้บริการ ระบบติดตามรถ สินค้าดี ราคาถูก คุณภาพเด่น ใช้งานได้จริง ประสิทธิภาพสูงสุด ประหยัดสุด นำเข้าจากยุโรป ผ่านมาตรฐานทั่วโลก
- Home
- Reports
- ดูกราฟวัดระดับน้ำมันเชื้อเพลิง ต้องทำยังไง
- แจ้งเตือนเคลื่อนที่เข้ากรอบพื้นที่ ตอนที่ 1
- แจ้งเตือนเคลื่อนที่เข้ากรอบพื้นที่ ตอนที่ 2
- สร้างบัญชีรายชื่อผู้ใช้ใหม่เฉพาะกลุ่มตัวเองเท่านั้น
- กำหนดจุดสนใจ(POI)บนแผนที่ทำยังไง
- วิธีการจัดกลุ่มเพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบ
- สร้างกฎเกณฑ์เหตุการณ์การเข้าออกสถานี
- ออกรายงานใช้รถยนต์TR2001TH FUEL
- สั่งตัดสตาร์ทออนไลน์ผ่านเวบไซต์
- ออกรายงานการใช้รถประจำวันทุกจุด
- ลองใช้งานจริงซ่อมบำรุง
- ดูกราฟการใช้ความเร็วและกราฟน้ำมัน
- ออกรายงานการใช้รถประจำวัน
- ดูการสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง
- การใช้มาตรวัดเกจ
- ดูเวลาเข้าออกสถานี
- ส่องดูรถผ่านกูเกิลมุมมองถนน
- ดูฟังก์ชั่นการติดเครื่องยนต์
- ดูข้อมูลการใช้รถย้อนหลัง
- ดูการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงรายวันย้อนหลัง
- รายงานการใช้ความเร็วย้อนหลัง
- ฺฺรายงาน BreadCrumb BC1000
- รายงานเหตุการณ์ EV1000
- รายงานการเติมน้ำมันเชื้อเพลิง
- Miscellaneous
- About us
วันจันทร์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2557
ดูเรียลไทม์แบบมีหน้าปัด Gauges สามารถใช้งานได้แล้ว
สวัสดีกันอีกครั้งสำหรับข้อมูลดีๆ สำหรับการให้บริการ gps ติดตามรถ เป็นการนำเสนอเรื่องราวดีๆ จากประสบการณ์ติดตั้ง ซ่อมบำรุง ตลอดจนการกำหนดค่าให้กับอุปกรณ์และเซิร์ฟเวอร์ เช่นเดียวกันสำหรับครั้งนี้ หลังจากที่ซอฟต์แวร์ GPS-Vehicle.com ผู้ให้บริการระบบติตตามรถยนต์ ได้ทำการอัพเดทฟีเจอร์หน้าปัดหรือว่า Gauges เราไปลองดูของจริงกัน
ซอฟต์แวร์ GPS-Vehicle เองนั้นสามารถเพิ่มอุปกรณ์ที่เรียกว่า Gauges เพื่อให้สวยงามและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อการใช้งาน ผู้เขียนได้ทำการเพิ่ม Gauges เข้าไป 3 อินพุทได้แก่ Ignition, Speed และ Fuel level ตามรายละเอียดดังนี้ 1. Ignition เป็นการบอกว่าขณะนี้มีการเปิดสวิทช์กุญแจของรถยนต์ 2. Speed แสดงความเร็วของรถยนต์แบบเรียลไทม์ และสุดท้าย 3. Fuel level คือระดับน้ำมันเชื้อเพลิงของรถยนต์คันที่ติดตั้งอุปกรณ์ GPS Tracker สำหรับรถยนต์คันที่แสดงนี้ใช้อุปกรณ์ Teltonika FM1100 เก่งเล็กจากค่ายยุโรป คุ้มค่าและเสถียรภาพดีที่สุดในตลาดทีเดียว
ซอฟต์แวร์ GPS-Vehicle เองนั้นสามารถเพิ่มอุปกรณ์ที่เรียกว่า Gauges เพื่อให้สวยงามและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อการใช้งาน ผู้เขียนได้ทำการเพิ่ม Gauges เข้าไป 3 อินพุทได้แก่ Ignition, Speed และ Fuel level ตามรายละเอียดดังนี้ 1. Ignition เป็นการบอกว่าขณะนี้มีการเปิดสวิทช์กุญแจของรถยนต์ 2. Speed แสดงความเร็วของรถยนต์แบบเรียลไทม์ และสุดท้าย 3. Fuel level คือระดับน้ำมันเชื้อเพลิงของรถยนต์คันที่ติดตั้งอุปกรณ์ GPS Tracker สำหรับรถยนต์คันที่แสดงนี้ใช้อุปกรณ์ Teltonika FM1100 เก่งเล็กจากค่ายยุโรป คุ้มค่าและเสถียรภาพดีที่สุดในตลาดทีเดียว
วันพุธที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2557
ดูข้อความเตือน ฟังก์ชั่น Engine ON สำหรับเซิร์ฟเวอร์ GPS-Vehicle.com
ยินดีต้อนรับสู่เวบบล็อกของคนทำจีพีเอสแทร็กเกอร์กันอีกครั้งหนึ่ง เกิดคำถามขึ้นว่า"พี่ครับช่วยดูรถยนต์ให้หน่อยว่าเมื่อเช้าติดเครื่องยนต์กี่โมง" หากเรามองการติดตั้งเจ้าอุปกรณ์ Tracker จะพบว่าโดยทั่วไป
Tracker Car
+VCC --> +12V
GND --> GND
Din1 --> Power On(ACC)
จากไดอะแกรมจะเห็นว่าหากเราเช็คสถานะว่าติดเครื่องยนต์ ความจริงคือหมุนสวิทช์สตาร์ทเครื่องยนต์ไปที่ตำแหน่ง ACC ณตำแหน่งนี้ยังไม่ได้สตาร์ทเครื่องยนต์จริง
มาวันนี้ผู้เขียนจะขอเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับการวิเคราะห์สถานะรถยนต์ เพื่อตรวจสอบกันว่า เครื่องยนต์สตาร์ทจริงหรือไม่ โดยผู้เขียนจะยกตัวอย่างของไฟชาร์จเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยดังนี้
ไฟแบตเตอรี่รถยนต์ 6 ล้อน้อยกว่า 24.5โวลต์ เมื่อดับเครื่องยนต์แต่ขณะติดเครื่องยนต์ไฟเลี้ยงจะขยับไปถึง 25-28 โวลต์ตามรูป
โดยทุกครั้งที่มีการติดเครื่องยนต์เกิน 2 นาทีระบบจะแจ้งเตือนผ่านอีเมลล์ว่ามีการติดเครื่องยนต์ Engine On หมายเลขทะเบียนรถ วันที่ เวลา สถานที่ และสร้างลิงค์บน google map ให้เพื่อให้กดดูตำแหน่งได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ
ผู้เขียนจะได้ทยอยแนะนำบทความอันเป็นประโยชน์สำหรับ GPS ติดตามรถ ที่ผู้เขียนได้มีโอกาสได้ปฏิบัติงานจริงว่าบอกกล่าวกันต่อๆไป สำหรับอุปกรณ์ที่ผู้เขียนใช้ทดสอบคือ Teltonika FM1100 เก่งเล็กจากค่ายยุโรป
Tracker Car
+VCC --> +12V
GND --> GND
Din1 --> Power On(ACC)
จากไดอะแกรมจะเห็นว่าหากเราเช็คสถานะว่าติดเครื่องยนต์ ความจริงคือหมุนสวิทช์สตาร์ทเครื่องยนต์ไปที่ตำแหน่ง ACC ณตำแหน่งนี้ยังไม่ได้สตาร์ทเครื่องยนต์จริง
มาวันนี้ผู้เขียนจะขอเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับการวิเคราะห์สถานะรถยนต์ เพื่อตรวจสอบกันว่า เครื่องยนต์สตาร์ทจริงหรือไม่ โดยผู้เขียนจะยกตัวอย่างของไฟชาร์จเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยดังนี้
ไฟแบตเตอรี่รถยนต์ 6 ล้อน้อยกว่า 24.5โวลต์ เมื่อดับเครื่องยนต์แต่ขณะติดเครื่องยนต์ไฟเลี้ยงจะขยับไปถึง 25-28 โวลต์ตามรูป
หลังจากทำความเข้าใจกันเรียบร้อยแล้ว เราก็จะมาทำการแม็ปสัญญาณกัน โดยผู้เขียนจะแม็ปเงื่อนไขที่ต้องเป็นจริงสองกรณีดังต่อไปนี้
1. ระดับสถานะ Din1 อยู่ในสถาวะ ON
2. ระดับแรงดันแบตเตอรี่มากกว่า 25 โวลต์
และมีการทำข้อ 1 และ 2 เป็นจริงมากกว่า 2 นาทีขึ้นไป แค่นี้เองผู้เขียนก็จะได้สถานะของเครื่องยนต์อย่างแท้จริง ไม่ใช่แค่บิดสวิทช์กุญแจไปที่ตำแหน่ง ACC ธรรมดา
เราลองมาดูตัวอย่างข้อความอีเมลล์ที่ผู้เขียนสร้างให้ลูกค้าที่ใช้บริการเซิร์ฟเวอร์ GPS-Vehicle.com ดูครับ
ผู้เขียนจะได้ทยอยแนะนำบทความอันเป็นประโยชน์สำหรับ GPS ติดตามรถ ที่ผู้เขียนได้มีโอกาสได้ปฏิบัติงานจริงว่าบอกกล่าวกันต่อๆไป สำหรับอุปกรณ์ที่ผู้เขียนใช้ทดสอบคือ Teltonika FM1100 เก่งเล็กจากค่ายยุโรป
วันพุธที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2557
ดูความสามารถของ AGPS สำหรับอุปกรณ์ GPS VEHICLE TRACKER GT06N
สวัสดีกันอีกครั้งครับ สำหรับชาวบล็อก thailandgpstracker.com แหล่งรวบรวมรายงานดีๆ ในสังคม gps tracker ผู้เขียนได้มีโอกาสแกะกล่องอุปกรณ์ GPS VEHICLE TRACKER GT06N ไปเมื่อเร็วๆ นี้ สำหรับจีพีเอสติดตามรถหาย สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ตามลิงค์ที่แปะให้
วันนี้จะพามาดูขีดความสามารถเพิ่มเติมของระบบ AGPS เพื่อต้องการติดตามตำแหน่งในขณะที่ไม่มีสัญญาณจีพีเอส หรือเรียกกันว่า "GSM TRACKER" ผู้เขียนทดสอบโดยการใช้อุปกรณ์มือถือพวก android เปิดดูข้อมูลผ่านเวบไซต์จะได้ผลลัพธ์ตามรูป
วันนี้จะพามาดูขีดความสามารถเพิ่มเติมของระบบ AGPS เพื่อต้องการติดตามตำแหน่งในขณะที่ไม่มีสัญญาณจีพีเอส หรือเรียกกันว่า "GSM TRACKER" ผู้เขียนทดสอบโดยการใช้อุปกรณ์มือถือพวก android เปิดดูข้อมูลผ่านเวบไซต์จะได้ผลลัพธ์ตามรูป
สำหรับข้อมูลที่เราต้องการประกอบไปด้วย CellID, LAC, MNC และ MCC เพื่อนำไปพล็อตหาตำแหน่งแบบ GSM TRACKER โดยสามารถเปิดเวบไซต์ตามลิงค์ที่แปะให้ไว้ http://cellphonetrackers.org/gsm/gsm-tracker.php จากนั้นทดสอบการป้อนค่าต่างๆ ตามตัวอย่าง กดปุ่ม Track It
เป็นไงครับสำหรับความสามารถ AGPS หรือ GSM Tracker สามารถทำได้ดีมากๆ สำหรับอุปกรณ์ดีๆ ราคาไม่แพง สนใจสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ ไทย พรอสเพอรัส ไอที เท่านั้น
วันอังคารที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2557
ดูรายงานการเข้าออกสถานี Time On Site Report
มีคำถามจากผู้ใช้บริการจีพีเอสติดตามรถ ว่า"ซอฟต์แวร์พี่ออกรายงานการเข้าออกสถานีได้ไหม ที่อื่นๆ เค้าทำได้กัน" ผู้เขียนรีบตอบไปอย่างรวดเร็วว่าทำได้อยู่แล้ว แต่รายงานฉบับนี้ต้องสร้างเหตุการณ์และต้องกำหนดจุดสนใจหรือสถานีให้เรียบร้อยเสียก่อน
สำหรับตัวอย่างรายงานนี้ผู้เขียนทดลองสร้างจากรายงานที่ชื่อว่า TS1003 Time On Site (Vehicle) แปลเป็นไทยว่าเวลาที่สถานีนั่นเอง เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลาเราไปลองดูผลลัพธ์กันเลยว่าจะตรงกับความต้องการรายงานฉบับนี้หรือไม่
จากตัวอย่างเป็นการออกรายงานประจำวันที่ 10 มิ.ย. 2557 ว่ามีการจอดรถอยู่สถานีไหน และเคลื่อนย้ายรถออกจากสถานีไหน รวมถึงแสดงเวลาที่จอดในสถานีไว้ด้วย รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์มากสำหรับบริการรถโดยสารประจำทาง เพื่อตรวจสอบเวลาที่ใช้ในการเดินทางแต่ละวัน
สำหรับตัวอย่างรายงานนี้ผู้เขียนทดลองสร้างจากรายงานที่ชื่อว่า TS1003 Time On Site (Vehicle) แปลเป็นไทยว่าเวลาที่สถานีนั่นเอง เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลาเราไปลองดูผลลัพธ์กันเลยว่าจะตรงกับความต้องการรายงานฉบับนี้หรือไม่
จากตัวอย่างเป็นการออกรายงานประจำวันที่ 10 มิ.ย. 2557 ว่ามีการจอดรถอยู่สถานีไหน และเคลื่อนย้ายรถออกจากสถานีไหน รวมถึงแสดงเวลาที่จอดในสถานีไว้ด้วย รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์มากสำหรับบริการรถโดยสารประจำทาง เพื่อตรวจสอบเวลาที่ใช้ในการเดินทางแต่ละวัน
ส่องดูรถผ่าน Google Street View กับ gps-vehicle.com
หลังจากทีมพัฒนาซอฟต์แวร์ gps-vehicle.com ได้คลอดจุดเด่นใหม่ที่เรียกว่า Google Street View เพื่อให้เราสามารถมอนิเตอร์สถานที ณจุดจอดรถ หรือที่เรียกว่า "มองมุมถนน" วันนี้ผู้เขียนจะได้แนะนำให้ท่านผู้อ่านได้ติดตามกัน
ซอฟต์แวร์gps ติดตามรถเอง ได้มีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องบางครั้งแบบก้าวกระโดด ฟีเจอร์อีกอย่างนึงที่ผู้เขียนจะใคร่ขอแนะนำกันในโอกาสต่อไปก็คือการแสดงรูปถ่ายจากกล้องบนรถ แน่นอน gps-vehicle.com รองรับการทำงานดังกล่าว
หลังจากที่ล็อกอินเข้าสู่ระบบเรียบร้อย ให้เลือกไปที่เมนู Windows จากนั้นเลือกไปที่ Street View จะปรากฎภาพดังรูป ประโยชน์อันหนึ่งที่ผู้ประกอบการชอบฟีเจอร์ในเรื่องนี้ก็คือ การที่คนขับรถนำรถไปจอดบริเวณร้านรับซื้ออะไหล่รถยนต์เก่า ป้องกันคนขับแอบถอดอะไหล่บางชิ้นขายนั่นเอง
ซอฟต์แวร์gps ติดตามรถเอง ได้มีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องบางครั้งแบบก้าวกระโดด ฟีเจอร์อีกอย่างนึงที่ผู้เขียนจะใคร่ขอแนะนำกันในโอกาสต่อไปก็คือการแสดงรูปถ่ายจากกล้องบนรถ แน่นอน gps-vehicle.com รองรับการทำงานดังกล่าว
หลังจากที่ล็อกอินเข้าสู่ระบบเรียบร้อย ให้เลือกไปที่เมนู Windows จากนั้นเลือกไปที่ Street View จะปรากฎภาพดังรูป ประโยชน์อันหนึ่งที่ผู้ประกอบการชอบฟีเจอร์ในเรื่องนี้ก็คือ การที่คนขับรถนำรถไปจอดบริเวณร้านรับซื้ออะไหล่รถยนต์เก่า ป้องกันคนขับแอบถอดอะไหล่บางชิ้นขายนั่นเอง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)